Present Continuous Tense
โครงสร้างประโยคบอกเล่า : Subject + V. to be + Verb. เติม ing + Object + (คำบอกเวลา)
สิ่งที่เราต้องคำนึงในรูปประโยคของ Present Continuous Tense คือการใช้ V. to be ซึ่งประกอบด้วย is, am, are โดยจะเลือกใช้ V. to be ตัวใดนั้นให้สังเกตที่ประธานของประโยค ถ้าประธานเป็น He, She, It ให้ใช้ is แต่ถ้าประธานเป็น I ให้ใช้ am และถ้าประธานเป็น You, We, They ให้ใช้ are และเปลี่ยนรูปคำกริยาโดยการเติม ing ตัวอย่างเช่น
สิ่งที่เราต้องคำนึงในรูปประโยคของ Present Continuous Tense คือการใช้ V. to be ซึ่งประกอบด้วย is, am, are โดยจะเลือกใช้ V. to be ตัวใดนั้นให้สังเกตที่ประธานของประโยค ถ้าประธานเป็น He, She, It ให้ใช้ is แต่ถ้าประธานเป็น I ให้ใช้ am และถ้าประธานเป็น You, We, They ให้ใช้ are และเปลี่ยนรูปคำกริยาโดยการเติม ing ตัวอย่างเช่น
โครงสร้างประโยคคำถาม : V. to be + Subject + Verb. เติม ing + object + (คำบอกเวลา)?
ประโยคคำถามใน Present Continuous Tense ไม่มีกฎอะไรมากมายเลยค่ะ เพียงแค่สลับที่ V. to be ขึ้นมาไว้ต้นประโยค โดยต้องพิจารณาการเลือกใช้ V. to be ตามประธานของประโยคด้วย เพียงเท่านี้ก็จะได้ประโยคคำถาม ตัวอย่างเช่น
ประโยคคำถามใน Present Continuous Tense ไม่มีกฎอะไรมากมายเลยค่ะ เพียงแค่สลับที่ V. to be ขึ้นมาไว้ต้นประโยค โดยต้องพิจารณาการเลือกใช้ V. to be ตามประธานของประโยคด้วย เพียงเท่านี้ก็จะได้ประโยคคำถาม ตัวอย่างเช่น
โครงสร้างประโยคปฏิเสธ : Subject + V. to be + not + Verb. เติม ing + object + (คำบอกเวลา)
สำหรับรูปประโยคปฏิเสธคงรูปเดิมคล้ายกับประโยคบอกเล่า แต่เพิ่ม not ขึ้นมาหลัง V. to be เพียงเท่านี้ก็จะเป็นประโยคปฏิเสธใน Present Continuous Tense ตัวอย่างเช่น
สำหรับรูปประโยคปฏิเสธคงรูปเดิมคล้ายกับประโยคบอกเล่า แต่เพิ่ม not ขึ้นมาหลัง V. to be เพียงเท่านี้ก็จะเป็นประโยคปฏิเสธใน Present Continuous Tense ตัวอย่างเช่น
1. กริยาที่แสดงถึงประสาทสัมผัสทั้งห้า เช่น see, hear, feel, taste, smell เป็นต้น
2. กริยาที่แสดงความรู้สึก นึกคิด เช่น believe, know, understand, forget, remember, recognize, fear เป็นต้น
3. กริยาที่แสดงความชอบและไม่ชอบ เช่น love, like, hate, dislike, desire เป็นต้น
4. กริยาที่แสดงความต้องการ เช่น want, wish, prefer เป็นต้น
2. กริยาที่แสดงความรู้สึก นึกคิด เช่น believe, know, understand, forget, remember, recognize, fear เป็นต้น
3. กริยาที่แสดงความชอบและไม่ชอบ เช่น love, like, hate, dislike, desire เป็นต้น
4. กริยาที่แสดงความต้องการ เช่น want, wish, prefer เป็นต้น
No comments:
Post a Comment